ไก่ชนแต่ละตัวจะมีที่มา และลักษณะที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะในรูปแบบไก่บ้าน ไก่เมื่อง ไก่ไทย หรือไก่ในชาติอื่น ๆ
ไก่ชนแต่ละตัวจะมีที่มา และลักษณะที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะในรูปแบบไก่บ้าน ไก่เมื่อง ไก่ไทย หรือไก่ในชาติอื่น ๆ
วันนี้เราก็นำไก่เบื่องตนมาให้คราว ๆ เบื่อเป็นแนวความรู้เพิ่มเติมสำหรับผู้ที่สนใจในเรื่องกีฬาชนไก่
ไก่ไทย
ไก่พม่า
ไก่ชนลูกผสม
ไก่ชนไทย
ไก่ชนไทย คือสายพันธุ์ที่เกิดในประเทศไทยตั้งแต่สมัยโบราณ มีการพัฒนามาเรื่อย ๆ จากต้นเหล่าสายพันธุ์ไทยแท้ จนถึงปัจจุบัน ถือว่าเป็นสายพันธุ์ไทย เป็นไก่ขนาดกลาง น้ำหนักตัวประมาณ 3 กิโลกรัม ลักษณะเชิงชนของไก่ไทย มักจะมีเชิงชน ดุดัน เดินประชิด กอด กดขี่ ล็อกคอ เท้าบ่า ตีตัว มุดมัด กัด และมุดลอดทะลุขา
สายพันธุ์ไก่ไทยต่างๆ นำมาแนะนำเบื้องต้นดังนี้
ที่ยกตัวอย่างมาข้างต้นนี้เป็นเพียงส่วนหลัก ๆ เท่านั้น ไก่ชนไทย สายพันธุ์ต่าง ๆ จะแยกย่อย ๆ ไปอีก ตามลักษณะของสีขนและสีหาง ส่วนโครงสร้างลำตัวจะมีลักษณะคล้ายกัน เพิ่มเติม
เครดิด/khunmobb.com
ไก่ชนพม่า
เห็นได้ชัดว่ามีต้นกำเนิดในเมียนมาร์ ซึ่งเดิมคือพม่า ในช่วงหลังของศตวรรษที่สิบเก้า เมื่อถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งก็คิดว่าจะสูญพันธุ์ บุคคลที่รอดชีวิตบางคนถูกค้นพบในปี 1970 และได้รับการอบรมกับไก่แจ้บูทสีขาวเพื่อสร้างสายพันธุ์ใหม่
1. ไก่พม่ามันเปรียวจะเลี้ยงจะดูแลต้องใจเย็น ๆ ค่อย ๆ จับค่อย ๆ คลำ เขาจะได้ไม่ตื่นกลัว
2. การปล้ำเลี้ยงใหม่ ๆ ต้องปล้ำแต่น้อยอย่าให้เกิน 1 ยก พออายุ11 เดือนค่อยนำไปไล่อันกับไก่อ่อน ๆ เหมือนกัน สักสองอันเพื่อฝึกยืนระยะ อย่าไล่อันนานเพราะพม่าดี ๆ ตีไม่เกินสองอันแน่นอน ที่สำคัญไก่พม่าหนุ่มถ้าปล้ำเลี้ยง หนัก ๆ เดี๋ยวพาลไม่สู้ไก่เอาจะลำบาก เลี้ยงพม่าต้องรออายุ รอกระดูก รอกล้ามเนื้อนิดหนึ่ง ไม่งั้นจะใจเสาะ
3. พอชนขวบเริ่มไล่อัน 3 อันขึ้นได้ และออกบ่อนป่าชมรมได้ ไก่พม่าถ้าสภาพสดได้อายุต้องรีบชน บางทีรอแข็งไม่ได้ ดังนั้นการเลี้ยนงไก่พม่าจึงเน้นการออกกำลังกายมากกว่าการปล้ำวาง เช่นเตะมุ้ง เตะเป้า เพราะพม่าตีกันไม่นาน ไม่ต้องรออัน4อัน5 อันเดียวสองอันจบแล้ว ยกเว้นการชนราคาแพงควรดูความแข็งประกอบด้วยเพราะไก่เก่งมักรบกันยืดเยื้อ
4. กรณีเลี้ยงพม่าลูกผสมอาจเพิ่มความเข้มในการเลี้ยงการปล้ำใกล้เคียงกับไก่ไทย
5.ดังที่บอกแล้วในครั้งก่อนว่าไก่พม่าหนุ่ม ๆ อย่าพึ่งปล้ำกับไก่ป่าก๋อยประเภทกัด ๆ มากนัก เพราะลำตัวยังบอบบางโดนบ่อย ๆ อาจเสียไก่ ถ้าเจอควรจับออกก่อนที่จะเสียไก่ อย่ากลัวเสียหน้าเพราะกระดูกอ่อน ๆ นี่โดนเขาเคี้ยวแน่นอน แต่ถ้าเราแข็งและพริ้วไหวแล้วค่อยว่ากัน
6.ไก่พม่าต้องเลี้ยงสม่ำเสมอห้ามขาดช่วง เพราะเป็นไก่ที่ไวต่อธรรมชาติ หากขาดเลี้ยงเพียงช่วงสั้น ๆ อาจทำให้ไก่ชนผิดฟอร์มได้
7.สังเกตอาการไก่ให้ดีถ้าป่วยหรือผิดสังเกตเพียงเล็กน้อยก็ควรงดปล้ำงดนำไปชนอย่างเด็ดขาด เพราะไก่จะชนผิดฟอร์มทันที เพิ่มเติม
เครดิต/gotoknow.org/
ไก่ลูกผสม
ไก่พันธุ์ลูกผสม (Hybrid Breeds) หมายถึง พันธุ์ไก่ไข่ที่ได้จากการนําไก่ไข่ตั้งแต่ 2 สายพันธุ์ขึ้นไป มาผสมกัน เป็นไก่พันธุ์ไข่ที่นิยมเลี้ยงกันในเชิงการค้ามากที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นพันธุ์ไก่ที่ผสมขึ้นเป็น พิเศษ
ไ
ก่ชนที่นิยมนำมาผสมกับไก่ชนไทย
1.สายพันธุ์ไซ่ง่อน นำเข้ามาจากเวียดนามเป็นหลัก เข้ามาครั้งแรก ในช่วงปี 2540 โดยบริษัทซีพี ก่อนหน้านั้นก็มีการนำเข้ามาเหมือนกันแต่ไม่มากนักและไม่เป็นที่นิยมเหมือนการนำเข้ามาของซีพี โดยเอาเข้ามาเพาะพันธุ์จำหน่ายทั่วไป
2.สายพันธุ์พม่า นำเข้ามาครั้งแรกในช่วงประมาณ ปี 2542 โดยชาวไก่ชนรายย่อยต่าง ๆ ร่วมกันสรรหาเข้ามาเล่นและจำหน่ายในประเทศซึ่งช่วงแรก ๆ เล่นมาทางภาคเหนือ และกระจายอย่างรวดเร็วในช่วง 6-7 ปีที่ผ่านมา.การผสมพันธุ์ไม่มีรูปแบบสำเร็จรูปหรือสูตรสำเร็จ ผู้เล่นยังคงทำโดยการตั้งสมมุติฐานตามที่ตัวเองมีประสบการณ์เท่านั้น เราไม่อาจเขียนสูตรสำเร็จการผสมพันธุ์ไก่เก่งได้เลย
ลูกผสมทุกสายพันธุ์มีจุดเด่นและจุดด้อยในตัวทั้งสิ้น จึงปรากฎว่าในปัจจุบันไก่ลูกผสมมีเก่งทุกสายพันธุ์สายพันธุ์ที่เป็นสายเลือดยืนในการผสมคือ สายพม่า คือไก่เก่งร้อยละ 80 ต้องมีเลือดพม่าปะปนอยู่ เพราะสายนี้ให้ความโดดเด่นในเรื่องความคมในการวางแผลที่ชัดเจนกว่าสายอื่น เช่น พม่าง่อน พม่าก๋อย พม่าไทย พม่าญี่ปุ่น พม่าบราชิล และลูกผสมสามสายเลือดทั้งหลายก็ต้องมีเลือดพม่าถึงจะคม.อัตราการได้ไก่เก่งในคอกผสมหนึ่งก็ยังเป็นอัตรา 1 ต่อ 5 โดยประมาณ กล่าวคือ หากเพาะไก่ตัวผู้คอกหนึ่งได้ 5 ตัว จะมีตัวเก่งที่สุด สามารถชนแพงๆ ได้เพียง 1 ตัว อีก 2 ตัวจะเป็นไก่ดี เลี้ยงชนได้ ส่วนอีก 2 ตัวฝีมืออ่อนหัด จะเลี้ยงหรือทิ้งก็ได้ ดังนั้นการทำให้ไก่คอกหนึ่งเก่งทุกตัวนี่เป็นสิ่งที่ยังทำไม่ได้
3.สายพันธุ์ไต้หวันและญี่ปุ่น นำเข้ามาใช่วงปี 2548 โดยผู้เล่นไก่รายย่อยทั่วไป หวังว่าจะเป็นสายพันธุ์ใหม่มาต่อยอดไก่ชนไทย แต่สายนี้ไม่ได้รับความนิยมมากนัก4. สายพันธุ์บราชิล มีการนำเข้ามาในช่วงเวลาใกล้เคียงกับสายญี่ปุ่น เป็นสายพันธุ์ที่ได้รับความนิยมพอสมควร แต่เนื่องจากนำเข้ามาจำนวนน้อยและไม่มีความหลากหลายทางพันธุกรรม ความนิยมจึงไม่มีมากเหมือนไซ่ง่อน
4.สายพันธุ์บราชิล มีการนำเข้ามาในช่วงเวลาใกล้เคียงกับสายญี่ปุ่น เป็นสายพันธุ์ที่ได้รับความนิยมพอสมควร แต่เนื่องจากนำเข้ามาจำนวนน้อยและไม่มีความหลากหลายทางพันธุกรรม ความนิยมจึงไม่มีมากเหมือนไซ่ง่อน
ผลการผสมข้ามสายพันธุ์ของไก่ชน
1.ไม่มีไก่สายพันธุ์ใดดีที่สุด ทุกสายมีจุดเด่นและจุดด้อย
2.การผสมพันธุ์ไม่มีรูปแบบสำเร็จรูปหรือสูตรสำเร็จ ผู้เล่นยังคงทำโดยการตั้งสมมุติฐานตามที่ตัวเองมีประสบการณ์เท่านั้น เราไม่อาจเขียนสูตรสำเร็จการผสมพันธุ์ไก่เก่งได้เลย
3.ลูกผสมทุกสายพันธุ์มีจุดเด่นและจุดด้อยในตัวทั้งสิ้น จึงปรากฎว่าในปัจจุบันไก่ลูกผสมมีเก่งทุกสายพันธุ์
4สายพันธุ์ที่เป็นสายเลือดยืนในการผสมคือ สายพม่า คือไก่เก่งร้อยละ 80 ต้องมีเลือดพม่าปะปนอยู่ เพราะสายนี้ให้ความโดดเด่นในเรื่องความคมในการวางแผลที่ชัดเจนกว่าสายอื่น เช่น พม่าง่อน พม่าก๋อย พม่าไทย พม่าญี่ปุ่น พม่าบราชิล และลูกผสมสามสายเลือดทั้งหลายก็ต้องมีเลือดพม่าถึงจะคม
5.อัตราการได้ไก่เก่งในคอกผสมหนึ่งก็ยังเป็นอัตรา 1 ต่อ 5 โดยประมาณ กล่าวคือ หากเพาะไก่ตัวผู้คอกหนึ่งได้ 5 ตัว จะมีตัวเก่งที่สุด สามารถชนแพงๆ ได้เพียง 1 ตัว อีก 2 ตัวจะเป็นไก่ดี เลี้ยงชนได้ ส่วนอีก 2 ตัวฝีมืออ่อนหัด จะเลี้ยงหรือทิ้งก็ได้ ดังนั้นการทำให้ไก่คอกหนึ่งเก่งทุกตัวนี่เป็นสิ่งที่ยังทำไม่ได้
บรรดาลูกร้อยถ้าร้อยจริง ๆ ผ่านยาก ส่วนมากเป็นลูกพัฒนาที่ติดค่าสายอื่นซัก 6-12.% กำลังออกมาสวย เรียกว่าพ่าเกือบ 90% อันนี้ดูแข็งแกร่งเลี้ยงง่าย แต่ถ้าพม่าร้อย ๆ ก็เหมาะเอาไว้เป็นต้นน้ำ..เท่านั้น
แหล่งที่มาวิถีเกษตรพอเพียง